ครบรอบ 1 ปี ‘อับดุลเลาะ อีซอมูซอ’ เสียชีวิต

อับดุลเลาะเสียชีวิตเมื่อเวลาประมาณ 04.00 น.วันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ.2562 ที่โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ หลังจากที่นอนรักษาตัวรวม 35 วันเพราะอาการสมองบวมอันเกิดขึ้นหลังจากที่เขาถูกเชิญตัวไปให้ปากคำแก่เจ้าหน้าที่ฝ่ายความมั่นคงเมื่อวันที่ 20 ก.ค. 63 และต่อมากลายเป็นผู้ป่วยหนักในวันที่ 21 ก.ค.63…

เดือนสิงหาคม 2020 สถานการณ์ปกติที่ไม่ปกติในปาตานี/จังหวัดชายแดนใต้

หลังวันรายอ อีดิลอัฎฮา ก็สิ้นเดือนกรกฎาคม และเริ่มเข้าเดือนสิงหาคม 2563 สถานการณ์การเมืองเริ่มร้อนระอุ

353 นักวิชาการฯ แถลงยืนยันมหาวิทยาลัย ต้องเป็นพื้นที่ตั้งคำถามและแสวงหาทางออกร่วมกันอย่างสันติ

353 นักวิชาการยืนยัน มหาวิทยาลัยต้องเป็นพื้นที่แสวงหาทางออกร่วมกันอย่างสันติของสังคม

คุกคามผู้ร่วมแฟลชม็อบปาตานีจะไม่ทน เพิ่มเป็น 6 ราย

เจ้าหน้าที่รุกเยี่ยมแกนนำและผู้ร่วมแฟลชม็อบปาตานีจะไม่ทนที่มัสยิดกรือเซะ วันเดียว 6 ราย

กลับคำพิพากษา ! จากยกฟ้องชั้นต้นเป็นติดอุทธรณ์ตลอดชีวิต

ศาลอุทธรณ์ ตัดสินจำคุกตลอดชีวิต 3 ราย และจำคุก 35ปี สองราย คดีที่ผู้พิพากษาคณากรยกฟ้องในศาลชั้นต้น

มูฮัมหมัดอามีน : ผมถูกเก็บ DNA ในภาวะ ‘จำยอม’

“ครบรอบ 1 ปี เหวี่ยงแหเก็บ DNA ที่บ้านแหร สุดท้ายก็ยังมาเกิดเหตุการณ์ ซ้ำ ๆ เดิม ๆ

นักศึกษามุสลิมเรียกร้อง ยกเลิกเก็บ DNA ในการเกณฑ์ทหารจังหวัดภาคใต

ยื่นหนังสือต่อกรรมาธิการการกฎหมาย การยุติธรรมและสิทธิมนุษยชน ซึ่งมีข้อเรียกร้อง 3 ข้อ หลัก

กมธ.กฎหมายฯ มีมติส่ง ร่าง พ.ร.บ.อุ้มหาย-ซ้อมทรมาน ให้สภาพิจารณา

วิสัยทัศน์ร่วมของคณะกรรมาธิการฯ ที่เล็งเห็นถึงความจำเป็นที่ประเทศไทยจะมีกฎหมายคุ้มครองสิทธิประชาชน

หมุดหมายความขัดแย้งทางการเมืองชายแดนใต้ คือ จุดสำคัญในการคลายปม หากต้องการที่จะแก้ปัญหา

บาดแผลพวกนี้หมายความว่า เรื่องการหายตัวไปของฮัจยีสุหลง คือ ความทรงจำรวมหมู่ของชุมชนทางการเมืองในพื้นที่แห่งนี้

อาจารย์ไกรศักดิ์ ชุณหะวัณ ตอนที่ 4 : คุณูปการของผู้ชายฅนนี้กับพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้

อาจารย์มักจะพูดคำขอโทษตั้งแต่เจอกันครั้งแรกว่า “พี่เด่น ผมขอโทษ” “บอย ผมขอโทษ” “คุณหมอ ผมขอโทษ”