การวิเคราะห์ผลงานของสุรินทร์ พิศสุวรรณ และอิมรอน มะลูลีม ต่อความเข้าใจปัญหาปาตานี/ชายแดนภาคใต้

แนวคิดชาตินิยมมลายูในภาคใต้ของไทยไม่ได้เป็นเพียงแค่การเรียกร้องเอกราชหรือการแยกตัวออกจากรัฐไทยเท่านั้น แต่เป็นผลมาจากกระบวนการสร้างรัฐชาติไทยที่รวมศูนย์อำนาจและพยายามกลืนกลายอัตลักษณ์ท้องถิ่น

จากปาตานีสู่มินดาเนา การเดินทางที่ไม่ได้มีเพียงเรา

ทความนี้เป็นบันทึกการเดินทางของผู้เขียนไปยังเกาะมินดาเนา ประเทศฟิลิปปินส์ เพื่อติดตามสถานการณ์ความขัดแย้งระหว่างรัฐบาลฟิลิปปินส์และขบวนการปลดแอกบังซาโมโร (Bangsamoro)

เงาอำนาจรัฐและแรงต้านปฏิบัติการ BRN กับบทบาท อส. ในสมรภูมิปาตานี

เกิดเหตุการณ์การข่มขู่และโจมตีต่ออาสาสมัครรักษาดินแดน (อส.) อย่างต่อเนื่องในพื้นที่ปาตานี/ชายแดนภาคใต้

PUASA และ บวช: การถือศีลอดในเดือนรอมฎอน รากศัพท์ ภาษา และความศรัทธา

เคยสงสัยกันไหมว่าทำไมชาวมลายูในพื้นที่ปาตานีเรียกการถือศีลอดว่า "ปูวาซอ" (Puasa) ในขณะที่มุสลิมในพื้นที่อื่นของไทยใช้คำว่า "บวช"

บทวิเคราะห์และวิพากษ์แนวคิดของ ศ.กิตติคุณ ดร.สุรชาติ บำรุงสุข เรื่อง “อย่าติดกับดัก BRN”

ข้อจำกัดของแนวคิดที่ยึดมั่นในรัฐเดี่ยวแบบรวมศูนย์ ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อกระบวนการสันติภาพ

116 ปี สนธิสัญญา 1909 ข้อตกลงที่เปลี่ยนชะตากรรมปาตานี

สนธิสัญญา ค.ศ. 1909 ระหว่างสยามกับอังกฤษ เป็นจุดเปลี่ยนสำคัญในประวัติศาสตร์ดินแดนแหลมมลายู

ทำไมสังคมไทยจึงไม่ค่อยให้ความสำคัญกับกระบวนการสันติภาพในปาตานี/ชายแดนใต้?

กระบวนการสันติภาพในปาตานี/แดนภาคใต้ จะมีความก้าวหน้าที่สำคัญในช่วงหลายสิบปีที่ผ่านมา แต่ประเด็นนี้กลับไม่ได้รับความสนใจมากนักจากสังคมไทยโดยรวม

รอมฎอนสันติสุข ทำไมข้อตกลงรอมฎอนสันติสุข ถึงไม่มีในปี 2568

ทบทวน "รอมฎอนสันติสุข" บทเรียนและข้อสังเกตต่อกระบวนการสันติภาพปาตานี

ทุนทางวัฒนธรรมของชนมลายูปาตานีคุณค่าทางวัฒนธรรมและศักยภาพทางเศรษฐกิจ

มรดกทางวัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิต ภาษา ศิลปะ และความรู้ที่สั่งสมมาจากรุ่นสู่รุ่น

อุยกูร์ ชาติพันธุ์ในประวัติศาสตร์เส้นทางสายไหมการกลืนกลาย และวาทกรรมการพัฒนา โดยจีน

เชื้อสายหนึ่งในกลุ่มชนเตอร์กิก บรรพบุรุษได้ตั้งถิ่นฐานอยู่ในอาณาบริเวณ ที่เรียกว่า “เตอร์กิสถาน”